1. โครงการ : โครงการพัฒนาลวดลายการสานตะกร้าจากเส้นพลาสติก หลักสูตร 30 ชั่วโมง
2. สอดคล้องกับประเด็นสำคัญ
- สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561-2580)
ด้านสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
- สอดคล้องกับแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ด้านการพัฒนาการเรียนรู้ ด้านการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
- สอดคล้องกับแผนการปฏิรูปประเทศ
ด้านการปฏิรูปด้านการศึกษา
-(ร่าง)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13
ไทยมีกำลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์ การพัฒนาแห่งอนาคต
- สอดคล้องกับนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ.2566-2570)
ด้านการเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
- สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ.2560-2579)
ด้านการการสร้างโอกาสความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา
- สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2566
การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
- สอดคล้องแผนปฏิบัติราชการสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
พัฒนากำลังคนเพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
- สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของสำนักงาน กศน. ปีงบประมาณ พ.ศ.2566
ข้อ 4 การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
4.1 พัฒนาหลักสูตรอาชีพที่เน้น New skill และ Re – skill ที่สอดคล้องกับมาตรฐานอาชีพ บริบทพื้นที่ และความสนใจ พร้อมทั้งสร้างช่องทางอาชีพในรูปแบบที่หลากหลายของกลุ่มเป้าหมายเช่น ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ความต้องการของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพใหม่ที่รองรับ Disruptive Technology เพื่อเข้าสู่การรับรองสมรรถนะและได้รับคุณวุฒิตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ รวมทั้งสามารถนำผลการเรียนรู้และประสบการเทียบโอนเข้าสู่ระบบการสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น
4.3 ยกระดับผลิตภัณฑ์สินค้า บริการจากโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนที่เน้น “ส่งเสริมความรู้สร้างอาชีพ เพิ่มรายได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ” ให้มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของตลาด ต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม พัฒนาสู่วิสาหกิจชุมชน ตลอดจนเพิ่มช่องทางประชาสัมพันธ์และช่องทางการจำหน่าย
- สอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ (ตามกฎหมาย)
พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551
3. ความสัมพันธ์กับมาตรฐาน/ตัวบ่ง ของ กศน.
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนกากรศึกษาต่อเนื่อง
ประเด็นที่ 1.1 ผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่องมีความรู้ความสามารถและหรือทักษะ และหรือ
คุณธรรมเป็นไปตามเกณฑ์การจบหลักสูตร
ประเด็นที่ 1.2 ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้หรือประยุกต์ใช้
บนพื้นฐานค่านิยมร่วมของสังคม
ประเด็นที่ 1.3 ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องที่นำความรู้ไปใช้จนเห็นเป็นประจักษ์หรือ
ตัวอย่างที่ดี
มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง
ประเด็นที่ 2.1 หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องมีคุณภาพ
ประเด็นที่ 2.2 วิทยากรการศึกษาต่อเนื่องมีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ตรงตาม
หลักสูตร
ประเด็นที่ 2.3 สื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้
ประเด็นที่ 2.4 การวัดและประเมินผลผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง
ประเด็นที่ 2.5 การจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่องมีคุณภาพ
มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา
ประเด็นที่ 3.1 การบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม
ประเด็นที่ 3.2 การกำกับนิเทศ ติดตามประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษา
4. หลักการและเหตุผล
จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานและสภาพโดยรวมของพื้นที่ ตำบลหมอกจำแป่ เป็นหมู่บ้านเกษตรกรรม เน้นการทำไร่ทำสวน การจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อส่งเสริมอาชีพระยะสั้นจึงเป็นสิ่งสำคัญ จากการศึกษาและสอบถามกลุ่มสนใจในพื้นที่จึงได้ข้อมูลและแนวทางการส่งเสริมอาชีพระยะสั้นคือ การสานกระเป๋าพลาสติก เพื่อนำมาใช้เองและต้องการพัฒนาอาชีพ มีอาชีพเสริมจากช่วงที่ว่างเว้นจากการทำเกษตร ชาวบ้านส่วนใหญ่ต้องการมีรายได้ และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ รวมทั้งต้องการลดโลกร้อน โดยสานกระเป๋าพลาสติกเพื่อนำมาใช้ในชีวิตประจำ ใช้แทนถุงพลาสติก ดังนั้น กศน.ตำลหมอกจำแป่ จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาอาชีพ หลักสูตร การพัฒนาลวดลายการสานตะกร้าพลาสติก ให้กับประชาชน ตำบลหมอกจำแป่ ต่อไป
5. วัตถุประสงค์
1. เพื่อกลุ่มเป้าหมายสามารถพัฒนาลวดลายการสานตะกร้าพลาสติกได้
2. เพื่อต่อยอดอาชีพเสริมสู่การพัฒนาเป็นอาชีพหลัก
6. เป้าหมาย
- เชิงปริมาณ กลุ่มผู้สนใจ ประชาชนตำบลหมอกจำแป่ จำนวน 15 คน
- เชิงคุณภาพ กลุ่มเป้าหมาย ได้รับความรู้และทักษะเพื่อนำไปประกอบอาชีพและเพิ่มรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว
7. วิธีดำเนินการ
กิจกรรมหลัก | วัตถุประสงค์ | ประเภท กลุ่มเป้าหมาย | เป้าหมาย (ผลผลิต) | พื้นที่ ดำเนินการ | ระยะเวลาดำเนินการ | งบ ประมาณ
|
1.สำรวจข้อมูลพื้นฐานและความต้องการพัฒนาอาชีพของคนในชุมชน | 1.เพื่อตรวจสอบยืนยันว่าเป็นความต้องการที่แท้จริง และทราบจำนวนผู้สนใจร่วมกิจกรรม | ผู้สนใจในบ้านหมอกจำแป่ ตำบลหมอกจำแป่ | 15 คน | ผู้สนใจในบ้านหมอกจำแป่ ตำบลหมอกจำแป่ | 15 พฤศจิกายน 2565 | - |
2.รวบรวมข้อมูลจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี2566 | -จัดทำโครงการเสนอ กศน.อำเภอ | - ครู - ผู้เกี่ยวข้อง | 2 คน | กศน.เมืองแม่ฮ่องสอน | 1 ธันวาคม 2565 | - |
3.จัดทำพัฒนาหลักสูตร/แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และสื่อ | -เตรียมหลักสูตร/แผนการเรียนรู้/สื่อ | คณะทำงาน | 2 คน | กศน.เมืองแม่ฮ่องสอน | 15 ธันวาคม2565 | - |
4.ดำเนินกิจกรรมอาชีพตามแผนฯ | - เพื่อจัดกิจกรรมตามแผนที่กำหนด | ผู้สนใจในบ้านหมอกจำแป่และประชาชนใน ตำบลหมอกจำแป่ | 15 คน | บ้านหมอกจำแป่และประชาชนในตำบลหมอกจำแป่ | 20-25 กุมภาพันธ์ 2566 | 7,000 บาท |
5.นิเทศติดตามประเมินผล | - เพื่อทราบปัญหา อุปสรรคความคืบหน้าการดำเนินงานและแนวทางแก้ไข | ผู้นิเทศ
| 3 คน | บ้านหมอกจำแป่และประชาชนในตำบลหมอกจำแป่
| 25 กุมภาพันธ์ 2566 |
|
6.สรุปผลการดำเนินงานและรายงานผล | - ได้ข้อมูลผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนา |
| 1 หลักสูตร | กศน.อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน | 28 กุมภาพันธ์ 2566 |
|
8. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ
ใช้งบประมาณปี 2566 แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์/โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน งบรายจ่าย โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน จำนวน 7,000 บาท
(เจ็ดพันบาทถ้วน) รหัสงบประมาณ 20002340052005000033 แหล่งของเงิน : 6611500
- ค่าวิทยากร จำนวน 30 ชั่วโมงๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
- ค่าวัสดุ/อุปกรณ์ในการฝึก เป็นเงิน 1,000 บาท
รวม 7,000 บาท
9. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ
| ไตรมาส 1 (ต.ค.-ธ.ค. ปี พ.ศ.2565) | ไตรมาส 2 (ม.ค.-มี.ค. ปี พ.ศ.2566) | ไตรมาส 3 (เม.ย.-มิ.ย. ปี พ.ศ.2566) | ไตรมาส 4 (ก.ค.-ก.ย. ปี พ.ศ.2566) |
ขั้นเตรียมการ - จัดประชุมเพื่อร่วมกันวางแผนงานการดำเนินงานโครงการ - จัดทำโครงการเพื่อนำเสนอและขอการอนุมัติงบประมาณ |
|
|
|
|
ขั้นการดำเนินโครงการ - ชี้แจงกิจกรรมให้แก่ผู้เรียนทราบ - เรียนรู้วิธีและขั้นตอนการสานตะกร้า |
| |
| |
ขั้นตรวจสอบและประเมินผล - ประเมินโดยใช้แบบสังเกตการทำกิจกรรมของผู้เรียนและแบบประเมินตนเองของผู้เรียน |
|
|
|
|
10. ผู้รับผิดชอบโครงการ
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน
11. เครือข่าย
1 . ผู้นำชุมชน
2 . คณะกรรมการ กศน.ตำบล
3 . องค์กรนักศึกษา
12. โครงการที่เกี่ยวข้อง
1. โครงการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2. โครงการจัดการศึกษาต่อเนื่อง
3. โครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย
4. โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน
13. ผลลัพธ์ Outcomes
14. ดัชนีชี้วัดผลสำเร็จของโครงการ (Key Performance Indicator : KPI)
14.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (output)
- กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายสามารถประกอบอาชีพการสานตะกร้าพลาสติกและสามารถนำความรู้ที่ได้มาใช้ในชีวิตประจำวันในครอบครัว มีรายได้เสริม ลดค่าใช้จ่ายในครอบครัว
14.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ ( Outcomes )
- ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีอาชีพเสริมที่มั่นคงสามารถยึดอาชีพการสานตะกร้าพลาสติกเป็นอาชีพหลักต่อไปได้
15. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. กลุ่มเป้าหมายสามารถพัฒนาลวดลายการสานตะกร้าพลาสติกได้
2. กลุ่มเป้าหมายสามารถต่อยอดอาชีพเสริมสู่การพัฒนาเป็นอาชีพหลักได้
16. การติดตามและประเมินโครงการ
1. การนิเทศติดตามผลการดำเนินงาน
2. แบบสอบถามความพึงพอใจ
3. แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน/ผู้รับบริการ
4. ชิ้นงาน
ลงชื่อ....................................................ผู้เสนอโครงการ
(นางสาววารี บุญชูรักษา)
ครู กศน.ตำบล
ลงชื่อ....................................................ผู้เห็นชอบโครงการ
(นางนุชนารถ ไชยกันทา)
หัวหน้างานการศึกษาต่อเนื่อง
ลงชื่อ..................................................ผู้อนุมัติโครงการ
(นางมัณฑนา กาศสนุก)
ตำแหน่งครูชำนาญการพิเศษ รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการ
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
กำหนดการจัดอบรม
โครงการพัฒนาอาชีพสานตะกร้าจากเส้นพลาสติก หลักสูตร 30 ชั่วโมง
วันที่ 20-25 กุมภาพันธ์ 2566
ณ กศน.ตำบลหมอกจำแป่ ตำบลหมอกจำแป่ อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอน
วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2566
08.30- 09.00 น. ลงทะเบียน
09.00 - 10.30 น. ปฐมนิเทศ/บรรยายก่อนการอบรม
10.45 - 12.00 น. เรื่องความสำคัญและประโยชน์ของอาชีพสานกระเป๋าพลาสติก
วิธีการ บรรยายให้ความรู้
โดยวิทยาการ นางสาวคะนึงหา สุภานันท์
12.00- 13.00 น.พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 -14.00 น. เรื่องการประกอบอาชีพสานกระเป๋าพลาสติก คุณธรรม จริยธรรม
สำหรับอาชีพสานกระเป๋าพลาสติก
วิธีการ บรรยายให้ความรู้
โดยวิทยาการ นางสาวคะนึงหา สุภานันท์
14.00 - 14.15 น. รับประทานอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม
14.20 - 15.00 น. เรื่องประเภทของเครื่องมือที่ใช้อาชีพสานกระเป๋าพลาสติก วิธีใช้และเก็บรักษา
เรื่องความปลอดภัยในการใช้เครื่องมืออุปกรณ์
วิธีการ บรรยายให้ความรู้ สาธิต
โดยวิทยาการ นางสาวคะนึงหา สุภานันท์
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2566
09.00 - 10.30 น. เรื่องขั้นตอนการเลือกเส้นพลาสติก
วิธีการ บรรยายให้ความรู้ ปฏิบัติ
10.45 - 12.00 น. เรื่องการสร้างแบบ การเตรียมแบบสาน
วิธีการ บรรยายให้ความรู้ ปฏิบัติ
โดยวิทยาการ นางสาวคะนึงหา สุภานันท์
11.00 - 11.15 น. รับประทานอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม
13.00 -15.00 น. เรื่องวิธีการเก็บรายละเอียดของชิ้นงาน
วิธีการ บรรยายให้ความรู้ สาธิต ปฏิบัติ
โดยวิทยาการ นางสาวคะนึงหา สุภานันท์
14.00 - 14.15 น. รับประทานอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม
วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2566
09.00 - 10.30 น. เรื่องการสานกระเป๋าพลาสติก
วิธีการ ฝึกปฏิบัติ
โดยวิทยาการ นางสาวคะนึงหา สุภานันท์
10.30 - 10.45 น. รับประทานอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 - 14.00 น. วิธีการ ฝึกปฏิบัติ
โดยวิทยาการ นางสาวคะนึงหา สุภานันท์
14.00 - 14.15 น. รับประทานอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม
14.20 - 15.00 น. วิธีการ ฝึกปฏิบัติ
โดยวิทยาการ นางสาวคะนึงหา สุภานันท์
วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2566
09.00 - 10.30 น. เรื่องการสานกระเป๋าพลาสติก
วิธีการฝึกปฏิบัติ
โดยวิทยาการ นางสาวคะนึงหา สุภานันท์
10.30 - 10.45 น. รับประทานอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 - 14.00 น. วิธีการ ฝึกปฏิบัติ
โดยวิทยาการ นางสาวคะนึงหา สุภานันท์
14.00 - 14.15 น. รับประทานอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม
14.20 - 15.00 น. วิธีการ ฝึกปฏิบัติ
โดยวิทยาการ นางสาวคะนึงหา สุภานันท์
วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2566
09.00 - 10.30 น. เรื่องการสานกระเป๋าพลาสติก
วิธีการฝึกปฏิบัติ
โดยวิทยาการ นางสาวคะนึงหา สุภานันท์
10.30 - 10.45 น. รับประทานอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 - 14.00 น. วิธีการ ฝึกปฏิบัติ โดยวิทยาการ นางสาวคะนึงหา สุภานันท์
14.00 - 14.15 น. รับประทานอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม
14.20 - 15.00 น. เรื่องการคำนวณพื้นที่ และคำนวณราคาในการสานกระเป๋าพลาสติกได้
วิธีการ ฝึกปฏิบัติ
โดยวิทยาการ นางสาวคะนึงหา สุภานันท์
หมายเหตุ 1. กิจกรรมสถานศึกษาอาจจัดและดำเนินการตามความเหมาะสม โดยครอบคลุมทุกกิจกรรม
เช่น การเก็บแบบทอดสอบหลังการอบรม แบบประเมินความพึงพอใจ การมอบวุฒิบัตร
2. รูปแบบกำหนดการสถานศึกษาสามารถปรับได้ตามความเหมาะสม
หลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ
กลุ่มอาชีพด้านเฉพาะทาง
หลักสูตร “การพัฒนาลวดลายตะกร้าพลาสติก”
จำนวน 30 ชั่วโมง
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน
สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดแม่ฮ่องสอน
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ
กลุ่มอาชีพด้านเฉพาะทาง
หลักสูตร การพัฒนาลวดลายตะกร้าพลาสติก
จำนวน 30 ชั่วโมง
1. ความเป็นมา
นโยบายการดำเนินงานของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ 2566 มุ่งเน้นการฝึกหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น ที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน เพื่อการพัฒนาอาชีพในอันที่จะประกอบอาชีพที่สร้างรายได้ได้จริง
อาชีพช่างฝีมือการพัฒนาลวดลายตะกร้าพลาสติก เป็นอาชีพอิสระที่ผู้เรียนสามารถนำมาเป็นอาชีพหลักหรืออาชีพรองได้ เนื่องจากเป็นอาชีพที่ผู้สนใจสามารถเรียนรู้ได้ง่ายไม่ยุ่งยาก มีต้นทุนในการประกอบอาชีพไม่สูง เพราะเป็นอาชีพที่ใช้ฝีมือ และทักษะในการประกอบอาชีพของประชาชน กศน.ตำบลหมอกจำแป่ เห็นว่าอาชีพสานกระเป๋าพลาสติก เป็นอาชีพเสริมจากการประกอบการเกษตรกรรม
กศน.ตำบลหมอกจำแป่ ได้ทำการสำรวจความต้องการ พบว่าประชาชนในตำบลหมอกจำแป่มีความต้องการที่จะศึกษาและฝึกทักษะในอาชีพการพัฒนาลวดลายตะกร้าพลาสติก จึงได้เล็งเห็นความสำคัญและได้พัฒนาหลักสูตรสานกระเป๋าพลาสติก กลุ่มอาชีพความคิดสร้างสรรค์ ขึ้น เพื่อจัดกิจกรรมการศึกษาอาชีพตามความต้องการของชุมชน
2. หลักการของหลักสูตร
1. เป็นหลักสูตรที่เน้นการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ
2. เป็นหลักสูตรที่เน้นการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง เพื่อพัฒนาสินค้าให้เป็นที่ต้องการของตลาด
3. จุดหมาย
ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะในงานอาชีพช่างฝีมือสานตะกร้าจากเส้นพลาสติก สามารถสร้างลวดลายที่แปลกใหม่และเป็นที่ต้องการของตลาด
4. กลุ่มเป้าหมาย
1. ผู้ที่ไม่มีอาชีพ
3 ผู้สูงอายุ
5. ระยะเวลา
จำนวน 30 ชั่วโมง
6. โครงสร้างหลักสูตร
ที่ | เนื้อหา | จำนวนชั่วโมง | ||
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | รวม | ||
1.
2.
3.
4. | ช่องทางการประกอบอาชีพ จำนวน 5 ชั่วโมง
1.3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาชีพการพัฒนาลวดลายตะกร้าพลาสติก 1.3.1 ลักษณะประเภทของอาชีพการพัฒนาลวดลายตะกร้าพลาสติก 1.3.2 ความรู้เบื้องต้นเรื่องเส้นเชือกที่ต้องใช้ทำลวดลาย 1.3.3 หลักการพัฒนาลวดลายตะกร้าพลาสติก 1.4 ประเภทของเครื่องมือที่ใช้อาชีพการพัฒนาลวดลายตะกร้าพลาสติก วิธีใช้และเก็บรักษา 1.5 ความปลอดภัยในการใช้เครื่องมืออุปกรณ์ ทักษะการประกอบอาชีพ จำนวน 15 ชั่วโมง 2.1 การเตรียมสถานที่ 2.2 การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ 2.3 ขั้นตอนการเลือกเส้นพลาสติก 2.4 ขั้นตอนการพัฒนาลวดลายตะกร้าพลาสติก 2.5 วิธีการเก็บรายละเอียดของชิ้นงาน การบริหารจัดการในการประกอบอาชีพการพัฒนาลวดลายตะกร้าพลาสติก 3.1 การคำนวณพื้นที่ และคำนวณราคาในการพัฒนาลวดลายตะกร้าพลาสติก ได้ 3.2 การประชาสัมพันธ์ และการหาลูกค้า 3.3 การควบคุมมาตรฐานของการบริการ 3.4 การเจรจาต่อรองราคากับลูกค้า โครงการประกอบอาชีพ 4.1 ความสำคัญของโครงการ 4.2 ประโยชน์ของโครงการ 4.3 องค์ประกอบของโครงการ 4.4 การเขียนโครงการ 4.5 การประเมินความเหมาะสมและสอดคล้องของโครงการ | 5
5
3
2
|
10
5
| 5
15
8
2 -
|
| รวม | 15 | 15 | 30 |
7. การจัดกระบวนการเรียนรู้
1. จัดกิจกรรมสำรวจและวิเคราะห์ตนเอง ทรัพยากร อาชีพ และความต้องการของตลาด เพื่อให้ผู้เรียนได้เห็นช่องทางการประกอบอาชีพ
2. จัดกิจกรรมวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้กระบวนการ SWOT รวมทั้งการศึกษาดูงาน เพื่อกำหนดทิศทางการพัฒนาประกอบอาชีพ
3. เรียนรู้ /ฝึกทักษะการประกอบอาชีพ เรียนรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้จากวิทยากร เรียนรู้จากการปฏิบัติ
8. สื่อการเรียนรู้
1. เอกสารประกอบการศึกษาอาชีพการพัฒนาลวดลายตะกร้าพลาสติก /การตรวจชิ้นงานอาชีพการพัฒนาลวดลายตะกร้าพลาสติก
2. วิทยากรผู้เชี่ยวชาญ
3. วัสดุฝึกจริง
9. การวัดและประเมินผล
จบหลักสูตร
10. การจบหลักสูตร
1. มีเวลาเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. มีผลการประเมินตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
3. มีผลงาน ชิ้นงาน ที่มีคุณภาพ
11. เอกสารหลักฐานการศึกษา
1. หลักฐานการสมัคร
2. เอกสารการลงทะเบียนเรียน
3. หลักฐานการประเมินผลระหว่างเรียน
4. บันทึกขออนุมัติจบหลักสูตร
5. วุฒิบัตร
12. การเทียบโอน
ผู้เรียนที่จบหลักสูตรอาชีพการพัฒนาลวดลายตะกร้าพลาสติก สามารถนำความรู้และประสบการณ์ เทียบโอนผลการเรียนรู้กับหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุท